วันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2555

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

     ไม่มีการเรียนการสอน
หมายเหตุ   เนื่องจากอยู่ในช่วงเทศกาลปีใหม่นักศึกษาส่วนใหญ่กลับมีความจำเป็นต้องเดินทางบ้านต่างจังหวัด
การบ้านสัปดาห์นี้  
    อาจารย์ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มและแบ่งหน้าที่กันให้เรียบร้อย คือ ประดิษฐ์สื่อการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ตามที่ได้รับมอบหมายของแต่ละกลุ่ม

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

ไม่มีการเรียนการสอนเพราะสอบกลางภาค

วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7


-อาจารย์สอนเรื่อง เกณฑ์ หรือ มาตรฐาน ของคณิตศาสตร์
       -มาตรฐานของคณิตศาสตร์ เรามักจะนึกถึง เกณฑ์ คุณภาพ การประเมิน วิธีการวัด ตัวช้วัด ตัวกิจกรรม และการได้รับการยอมรับ
       -มาตรฐานมีความจำเป็นกับตัวเราในชีวิประจำวันเพราะเป็นตัวชี้วัดว่าเรามีคุณภาพ เช่น มาตรฐานในตัวเอง มาตรฐานในโรงเรียน และ มาตรฐานในอาหาร
       -สสวทคือ สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ สถาบันที่เป็นตัวชี้วัดให้กับเรา
       -กรอบ มาตรฐาน คริตศาสตร์ เป็นแนวทางที่จะให้เราได้จัดประสบการณ์ตามที่มาตรฐานกำหนดว่าควรจะจัดอย่างไร
       -ภาษากับคณิตศาสตร์ เป็นเคริองมือที่ใช้ในการเรียนรู้ที่สำคัญในระดับชั้นต่างๆเราจึงจัดภาษาและคณิตศาสตร์ให้เหมาะสม
         **ถ้าจัดประสบกณ์ารคณิตศาสตร์เราจะต้อง
1. รู้พัฒนาการของเด็กเพื่อจะจัดพัฒนาการให้สอดคล้องกับวัย
2. เรียนรู้ผ่านการเล่นโดยการลงมือกระทำกับวัตถุโดยประสาทสัมผัสทั้ง 5
         **กรอบคณิศาสตร์ของ สสวท. คือ
1. จำนวนและการดำเนินการต่างๆในชีวิตประจำวัน เช่น จำนวนคนในครอบครับ 
2. ค่าและปริมาณ
    การบ้าน
1. อาจารย์ให้กลับไปอ่านหนังสือ
2. อาจารย์ให้ทำการบ้านมาส่งที่อาจารย์ได้ให้ไว้ในสัปดาห์ที่แล้ว(งานกลุ่ม)แล้วนำมาส่ง
    **หมายเหตุ  สัปดาห์ที่แล้วดิฉันไม่ได้มาเรียนดิฉันจึงไม่มีกลุ่ม                   ทำงาน แต่ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้หากลุ่มอยู่
ดิฉันอยู่กลุ่มที่ 3 (อาจาย์บอกว่าแต่ละกลุ่มมีสมาชิกหลายคนจะต้องทำงานออกมาให้ดี)

วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

ครูได้ให้นำกล่องมา กล่องแบบใดก็ได้
กล่องสามารถบอกถึง รูปทรง พื้นที่  ปริมาณ การนับ
นับเป็นทางการ = ไม้บรรทัด ตลับเมคร
ไม่เป็นทางการ= มือ
กล่องใช้เรียงลำดับ  หาค่ามาเปรียบเทียบ มาวางมือ  แทนค่าต้องมีตัวเลขกำกับใช้
กล่องเป็นเศษส่วน =มีทั้งหมดเท่าไหร่ ยาสีฟันมี 6 กล่อง กล่องของทั้งหมด  จับ 1-1 
กล่งใช้ตามแบบ กล่องใช้เป็นเซต  กล่องใช้เป็นการอนุรักษ์
ครูได้ให้จับกลุ่ม 11 คน แล้วนำกล่องมาประดิษฐิ์ในรูปแบบต่างๆ โดยมีโจทย์ให้แต่ละกลุ่มได้คิด
การนำกล่องมาให้เด็กได้คิดจะเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ เด็กเกิดการเชื่อมโยง
การจัดการสอนไม่ต้องลงทุน มีอะไรก็สามารถนำมาเชื่อมโยงได้ 
                      *เด็กมีประสบการณ์ก็จะมีข้อมูลมาก เกิดความรู้ใหม่อย่างชัดเจน *








วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5



 - อาจารย์  ชี้แจง
   วันจันทร์  ให้นักศึกษาทุกคนไปลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใกล้ถึงวันที่ 5 ธันวาคม มหาราชและเวลา13.00.-17.00มาร้องเพลง
   วันอังคาร  เวลา 16.00.  อาจารย์นัดเจอกันที่ลานเพลิงเพื่อที่จะมาเต้นถวายพระพรเพื่อพ่อหลวง 
** ให้นักศึกษาแต่งกาย ใส่เสื้อสีเหลือง  กางเกงวอม  รองเท้าผ้าใบ

** ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ ในระดับประถมศึกษาควรประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะ(นิตยา  ประพฤติกิจ.2541.17-19)
1. การนับ คือ การเรียงตัวเลข จากนั้นเป็น การนับลำดับที่ตำแหน่ง จะได้เป็น จำนวน แล้วจะใช้ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เพื่อให้เกิดความเข้าใจ  
2. ตัวเลข  เป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มีไว้บอก ค่า  จำนวน  สัญลักษณ์  เพื่อสื่อสารให้เกิดความเข้าใจ                               
3. การจับคู่ คือ การจับคู่เหมือน เช่น รูปร่าง  รูปทรง  จำนวน
4. การจัดประเภท คือ กำหนดเกณฑ์ เราไม่ควรกำหนด 2 เกณฑ์ เพราะจะทำให้เด็กสับสนแยกแยะไม่ออก ถ้าต้องกำหนดเกณฑ์ต้องกำหนดเพียง เกณฑ์สำหรับเด็กปฐมวัย เพราะ เป็นการวางพื้นฐาน              
5. การเปรียบเทียบ คือ ทักษะการสังเกตเป็นขั้นต้น คือ การกะประมาณ คือ 1.หาค่า/หาปริมาณ   แล้วมา   2.มาเปรียบเทียบกัน แล้ว เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือกระทำจริงในการเปรีบยเทียบโดยการ  ตัดออก  การลบ  การบวก
6. การจัดลำดับ คือ การหา ค่า / ปริมาณ แล้วมา เปรียบเทียบ แล้วมา จัดวางเรียงลำดับ แล้วนำ ตัวเลขมาลำดับกำกับ
7. รูปทรงและเนื้อที่ คือ ปริมาณ ความจุ
8.การวัด คือ การหาค่า/ปริมาณ ที่เป็น หน่วย/เครื่องมือในการวัด(สำหรับเด็กจะไม่เป็นทางการ)  เครื่องมือกึ่งมาตรฐาน เช่น ฝ่ามือ  เครื่องมือมาตรฐาน เช่น ไม้บรรทัด ตลับเมตร
9. เซต คือ การอยู่เป็นคู่ เช่น จำนวน คู่กับจำนวน (1,1)
10. เศษส่วน อันดับแรกต้องรู้จักคำว่าทั้งหมด”  และ ครึ่ง(แบ่งครึ่ง)” เช่น การแบ่งขนมคนละครึ่ง  หรือ  มีเด็ก คนมีขนม ชิ้น ต้องแบ่งขนมให้ได้ ส่วน 4ของแต่ละชิ้น แต่ละคนให้เท่าๆกัน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย  ได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้วใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5การทำตามแบบ คือ การเล่น เช่น การเล่นเกมกระต่ายขาเดียวแล้วจะต้องให้เด็กมีอิสระที่จะเลือกและตัดสินใจทำเองและทำโดยไม่ทำลายความเชื่อมั่นในตนเอง
12. การอนุรักษ์ คือ การตอบตามที่ตามองเห็นที่เป็นรูปธรรม เช่น ตัวอย่าง การเทน้ำใส่แก้วที่มีรูปร่างต่างกัน
     (เยาวภา  เดชะคุปต์.2542.87-88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่ที่ครูครวศึกษาเพื่อจัดประสบการณ์ให้กับเด็กดังนี้
1. การจัดกลุ่มหรือเซต
2. จำนวน 1-10
3. ระบบจำนวน/ชื่อของตัวเลข   1=หนึ่ง  / 2=สอง
4. ความสัมพันระหว่างเซต
5. การรวมกลุ่ม
6. ลำดับที่
7. การวัด
8. รูปทรงเรขาคณิตศาสตร์
9. สถิติและกราฟ
    จาก แนวคิดของทั้งสองท่านที่ได้กล่าวมานั้น อ.นิตยา  ประพฤติกิจ และ อ.เยาวภา  เดชะคุปต์ มีแนวคิดที่เหมือนกันแต่ที่แตกต่างกัน คือ หัวข้อ สถิติและกราฟ ที่ อ.นิตยา ประพฤติกิจ ไม่มี

     - อาจารย์ให้จับคู่ 2 คน แล้วใหทำงาน 12 หัวข้อ

การบ้านสัปดาห์นี้

    1. ทำงานคู่ 12หัวข้อ 
การบ้านสัปดาห์หน้า
    2. อาจารย์  ให้นำกล่องที่มีรูปทรงมาคนละ 1 กล่อง กล่องอะไรก็ได้ เช่น กล่องใส่ครีม  กล่องยาสีฟัน....

วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่3



การบันทึกการเรียน
อาจารย์ให้จับกลุ่ม 3 คนแล้วเอาความรู้ที่ได้จากการค้นคว้ามาตั้งเป็น ความหมายของกลุ่ม ดังนี้ ...
      1. จุดมุ่งหมาย     
         เพื่อให้ผู้เรียนรู้คุณค่าของคณิตศาสตร์  สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันมุ่งให้เกิดความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการของคณิตศาสตร์  ฝึกให้คิดตามลำดับเหตุผล ช่วยให้การกำหนดการเรียนการสอนที่ชัดเจนผู้สอนจะต้องวัดพฤติกรรมผู้เรียนได้จากการสังเกตการกระทำที่เห็นได้ เช่น การเขียน การพูด การอ่าน การเขียนแผนภูมิหรือกราฟการบันทึก

 2.ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
วิธีการสอน  เลือกวิธีการสอนให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ และความสามารถของผู้เรียน  ควรใช้สื่อการสอนที่เป็นรูปธรรม  ผู้สอนควรจะต้องเตรียมการเรียนการสอน ค้นคว้า เนื้อหาสาระที่จะสอน
วิธีการสอนมีดังนี้ ...
        1. วิธีการสอนแบบอภิปราย
        2. วิธีการสอนแบบทดลอง
        3. วิธีการสอนแบบโครงการ
        4. วิธีการสอนแบบสอบถาม

    3.  ขอบข่าย (เนื้อหาของคณิตศาสตร์)
         1. ตรรกศาสตร์
         2.  เซต
         3.  ระบบจำนวนจริง
         4.  ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่น
         5. จำนวน และฐาน
         6. การรวบรวมข้อมูล และนำเสนอข้อมูล
         7. การวัดค่ากลางของข้อมูล
         8. การวัดการกระจายของข้อมูล
         9. ทฤษฎีการติดสินใจ
        10. ทฤษฎีความน่าจะเป็น
        11. วิธีเรียงสับเปลี่ยน  วิธีจัดหมู่ และทฤษฎีบททวินาม


สรุป
คณิตศาสตร์  เป็นศาสตร์ของการคิกคำนวณ การวัด คือเลขคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ และ เรขาคณิต  มีการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เป็นภาษาสากลอีกด้วย  คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือที่แสดงความคิดที่เป็นระเบียบ  มีเหตุผล  มีวิธีการ  และหลักการ  เพื่อให้สามารถนำไปวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้  และเลือกใช้กลวิธีในการศึกษาให้เหมาะสม และสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง และประเทศชาติได้

                                                                              บรรยากาศในห้องเรียน


วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2

บันทึกการเรียน   


-อาจารย์ให้นักศึกษาลิ้งค์บล็อกและเช็คชื่อ
- อาจารย์แจกกระดาษคนละ 1 แผ่น แล้วให้เขียนคำว่าคณิตศาสตร์และประสบการณ์เป็นภาษาอังกฤษ
 - อาจารย์อธิบายถึงทฤษฎีของเพียเจต์  การพัฒนาการทางสติปัญญาโดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม คือ
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) แรกเกิด-2 ปี
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) 2-4 ปี และ 2-6 ปี
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) 4-6 ปี

 สรุป
        เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้สิ่งต่างๆผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไม่ว่าจะเป็นทางหู ตา จมูก ลิ้น ผิวหนัง
 การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสของเด็กเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กนักเรียนปฐมวัย และจากกิจกรรมที่ได้รับชมนี้จะเห็นได้ว่าเด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆในการทำกิจกรรมผ่านสื่อวัสดุที่ครูได้จัดเตรียมไว้ เด็กมีการปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครู สามารถช่วยส่งเสริมและพัฒนานักเรียนในเรื่องของสังคมการใช้ภาษาในการสื่อสารต่างๆ การเรียนรู้กฎกติกาในการทำกิจกรรม และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม

งานที่ได้รับมอบหมาย

1.ให้สำรวจห นังสือคณิต ต้องมี ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง เลขหมู่ ปีพ.ศ. และ บาร์โค้ดหนังสือ
2.หาความหมายของ"คณิตศาสตร์" มา1ท่าน ต้องมี ชื่อผู้นิยาม ชื่อหนังสือ เลขหน้า
3.ให้หาจุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ ว่าคืออะไร มา1ท่าน
4.การสอนหรือการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ (มา1ทฤษฎี)
5.ให้บอกขอบข่ายของคณิตศาสตร์
6.ให้หลักการของคณิตศาสตร์



การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่1

บันทึกการเรียน
- อาจารย์แจกกระดาษคนละ 1 แผ่น แล้วให้เขียนคำว่าคณิตศาสตร์และประสบการณ์เป็นภาษาอังกฤษ
 - อาจารย์อธิบายถึงทฤษฎีของเพียเจต์  การพัฒนาการทางสติปัญญาโดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม คือ
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) แรกเกิด-2 ปี
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) 2-4 ปี และ 2-6 ปี
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) 4-6 ปี

 สรุป
        เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้สิ่งต่างๆผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไม่ว่าจะเป็นทางหู ตา จมูก ลิ้น ผิวหนัง
 การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสของเด็กเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กนักเรียนปฐมวัย และจากกิจกรรมที่ได้รับชมนี้จะเห็นได้ว่าเด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆในการทำกิจกรรมผ่านสื่อวัสดุที่ครูได้จัดเตรียมไว้ เด็กมีการปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครู สามารถช่วยส่งเสริมและพัฒนานักเรียนในเรื่องของสังคมการใช้ภาษาในการสื่อสารต่างๆ การเรียนรู้กฎกติกาในการทำกิจกรรม และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม

งานที่ได้รับมอบหมาย

1.ให้สำรวจห นังสือคณิต ต้องมี ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง เลขหมู่ ปีพ.ศ. และ บาร์โค้ดหนังสือ
2.หาความหมายของ"คณิตศาสตร์" มา1ท่าน ต้องมี ชื่อผู้นิยาม ชื่อหนังสือ เลขหน้า
3.ให้หาจุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ ว่าคืออะไร มา1ท่าน
4.การสอนหรือการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ (มา1ทฤษฎี)
5.ให้บอกขอบข่ายของคณิตศาสตร์
6.ให้หลักการของคณิตศาสตร์